|
(ตอนจบ)
โดย สุทัศน์ เอกา
ตอนจบของ ขั้นตอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.
Summary and Development of Knowledge
ขั้นตอนที่ 7. สรุปข้อมูล และ ขั้นตอนที่ 8. ต่อยอดองค์ความรู้ของขั้นตอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.
ขั้นตอนที่ 7. สรุปข้อมูล Summary
ในระหว่าง “คาบการเรียนการสอน หรือ Periods of Instruction” นั้น นอกจากภาระในการ “ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน Instruction activities” แล้ว คุณครูยังจะต้อง สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน Observe Learning behavior of the Learner ทำการแก้ไขและปรับปรุง หรือ Modify and Improve, และมีการบันทึกข้อมูล Recording Data กันเป็นปกติอยู่แล้ว ทั้งหมดทั้งปวงนั้น เราเรียกว่า Feedback และเรานำ Feedback เหล่านี้ไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน...
บางท่านเรียกการกระทำอย่างนี้ ว่า การวิจัยในชั้นเรียน หรือ Classroom Action Research เพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้คือ
หลังจากการนำเสนอบทความเกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อสร้างกระบวนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มาหลายตอนแล้ว วันนี้เลยขอรวบรวมคลิปวีดิโอที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่น่าสนใจ แนวคิด วิธีการต่างๆ ที่หน่วยงาน/องค์กร/ผู้รู้ ในจัดทำและนำเสนอมาไว้ที่เดียวกัน สำหรับเพื่อนครูไทยหัวใจดอทคอมทุกท่านจะได้ศึกษา นำไปประยุกต์ใช้ได้ตามเหมาะสมกับบริบทของแต่ละท่าน ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนใหญ่ โรงเรียนเล็ก ในเมืองหรือในชนบท เชิญเลือกชมได้ตามความสนใจเลยครับ..
วิถีสร้างการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดย สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน
(ตอนที่ 4)
โดย สุทัศน์ เอกา
Take Action.. ลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 6. ลงมือปฏิบัติ
นี้เป็นขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.สำคัญยิ่ง เพราะเป็นการ “ลงสนามรบ The Battlefield” ในการเรียนการสอนอย่างแท้จริง ดังนี้
Take Action..ลงมือปฏิบัติการสอนจริง
มีท่านผู้อ่านหลายท่าน ได้แสดงความกังวลว่า Learning by Doing ได้ผลดีจริงหรือ เกรงว่าจะทำให้นักเรียนตกต่ำ เหลวไหล ไร้ระเบียบแบบแผนมากกว่า สู้ออกคำสั่งให้ตั้งใจฟังครูสอน บังคับให้อยู่ในระเบียบ ฟังเงียบๆ ดีกว่า และมีไม่น้อยเลยที่เห็นว่า Learning by Doing คือ การให้นักเรียนทำงานเองเงียบๆ และ “ครูว่างเกินไป” จึงขนงานจากข้างนอก และหน่วยเหนือ ซึ่ง “มิใช่หน้าที่โดยตรงของครู” มาให้ทำจนล้า และในที่สุด “งานนอกหน้าที่จึงต้องทำก่อนงานในหน้าที่ซึ่งหาเวลาแทบไม่ได้เลย” นี่เป็น ความ “ไม่เข้าใจ” และ “เข้าใจผิด” อย่างแรง.....
ที่ถูกต้อง และได้ผลดีมาก.. The best way to “DO.!” ..
คุณครู-อาจารย์ ลองดู “บรรยากาศ การเรียนการสอน แบบ Learning by Doing” ที่ถูกต้อง และได้ผลดี ลองพิจารณาดูนะครับ
(ตอนที่ 3)
โดย สุทัศน์ เอกา
The process of “Distinguish the Data”, and “Instructional Design”...
ขั้นตอนที่ 4. การวิเคราะห์และจำแนกแยกแยะข้อมูล และ ขั้นตอนที่ 5. การออกแบบการเรียนการสอน ของขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.
หลังจากการระดมความคิด Brainstorming จนถึงขั้น Collaborative และทำสรุป แยกเป็นหมวดหมู่ เรื่องใด ระดับชั้นใด และโดยเฉพาอย่างยิ่ง “รูปแบบการเรียนการสอน Form of instruction.” ที่ได้จากการระดมความคิด ว่าเนื้อหาส่วนไหน จะเรียนรู้แบบไหน How to Learn ผู้เรียนจะได้มีส่วนร่วม หรือ Experience Participation ได้อย่างไร เพื่อจะนำไป วิเคราะห์ จำแนกแยกแยะ หรือ Distinguish the Data และ “ออกแบบการเรียนการสอน Learning and Teaching Design” ในขั้นต่อไป
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา ที่นี่ใช้คุกกี้ (Cookies) เก็บข้อมูล เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น อ่านนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Policy) และนโยบายคุกกี้ (Cookie Policy)